Header Ads

Breaking News
recent

อัตราและวิธีการใช้น้ำหมักชีวภาพ


อัตราและวิธีการใช้น้ำหมักชีวภาพ


พื้นที่เกษตร อัตราน้ำหมักชีวภาพ    วิธีการใช้
1. ข้าว
1.1 แช่เมล็ดพันธุ์ข้าว น้ำหมักชีวภาพเจือจาง    แช่เมล็ดข้าวเป็นเวลานาน 12 ชั่วโมง
1:1000    แล้วนำขึ้นพักไว้ 1 วัน จึงนำลงปลูก
1.2 ช่วงเตรียมดิน น้ำหมักชีวภาพ    ฉีดพ่นหรือรดลงดิน ระหว่าง
5 ลิตร/ไร่    เตรียมดินหรือก่อนไถกลอตอซัง
1.3 ช่วงการเจริญเติบโต น้ำหมักชีวภาพ    ฉีดพ่นหรือรดลงดิน เมื่อข้าวอายุ
เจือจาง 1:500    30, 50 และ 60 วัน
2. พืชไร่
2.1 ช่วงการเจริญเติบโต น้ำหมักชีวภาพเจือจาง    ฉีดพ่นหรือรดลงดิน ทุก ๆ 15 วัน
1:500    ก่อนออกดอกและช่วงติดผล
2.2 แช่ท่อนพันธุ์อ้อย น้ำหมักชีวภาพเจือจาง    แช่ท่อนพันธุ์อ้อยหรือมันสำปะหลัง
และมันสำปะหลัง 1:500    เป็นเวลา 12 ชั่วโมง จึงลงปลูก
3. พืชผักและไม้ดอก น้ำหมักชีวภาพเจือจาง    ฉีดพ่นหรือรดลงดิน ทุก ๆ 15 วัน
1:1000
4. ไม้ผล น้ำหมักชีวภาพเจือจาง    ฉัดพ่นหรือรดลงดิน ทุก ๆ 1 เดือน
1:500    ช่วงกำลังเจริญเติบโต
   ก่อนออกดอกและช่วงติดผล
5. คอกปศุสัตว์ น้ำหมักชีวภาพเจือจาง    ฉีดพ่นหรือเทน้ำหมักชีวภาพ
1:10-100    ที่เจือจางแล้วทุกวันหรือทุก ๆ 3 วัน
6. บ่อน้ำ บ่อกุ้งและ น้ำหมักชีวภาพ 1 ลิตร    เทน้ำหมักชีวภาพลงในบ่อทุก ๆ
บ่อปลา น้ำ 10 ลูกบาศก์เมตร    15 วัน



บทความอื่น ๆ ในเรื่องนี้
คู่มือ การผลิต และ การใช้ประโยชน์ น้ำหมักชีวภาพ

1. ความหมายของน้ำหมักชีวภาพ

2. คุณสมบัติของจุลินทรีย์ในกระบวนการผลิตน้ำหมักชีวภาพ

3. วัสดุที่ใช้ทำน้ำหมักชีวภาพ

4. ส่วนผสมใสการทำน้ำหมักชีวภาพหรือสูตรน้ำหมักชีวภาพ

5. ชนิดของน้ำหมักชีวภาพและส่วนผสม

6. ขั้นตอนและวิธีการผลิตน้ำหมักชีวภาพ

7. ปัจจัยที่ควบคุมการย่อยสลายในกระบวนการหมักน้ำหมักชีวภาพ

8. การตรวจสอบระหว่างการหมักเพื่อผลิตน้ำหมักชีวภาพ

9. หลักการพิจารณาน้ำหมักชีวภาพ

10. องค์ประกอบของน้ำหมักชีวภาพ

11. ลักษณะที่ดีของน้ำหมักชีวภาพ

12. คุณสมบัติของน้ำหมักชีวภาพ

13. อัตราและวิธีการใช้น้ำหมักชีวภาพ

14. ประโยชน์ของน้ำหมักชีวภาพ

15. ข้อแนะนำ ในการผลิตและการใช้ประโยชน์น้ำหมักชีวภาพ

Powered by Blogger.