Header Ads

Breaking News
recent

เลี้ยงปลาซิวในบ่อพลาสติก เลี้ยงง่าย รายได้ดี (โรคและการขยายพันธุ์อย่างละเอียด)


เลี้ยงปลาซิวในบ่อพลาสติก  เลี้ยงง่าย รายได้ดี (โรคและการขยายพันธุ์อย่างละเอียด)

          การเพาะพันธุ์ปลาซิวข้างขวานเล็ก ศูนย์ วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดตรัง ได้พัฒนาการเพาะพันธุ์ปลาซิวข้างขวานเล็กได้ สำเร็จ โดยเน้นการเพาะพันธุ์วิธีเลียนแบบธรรมชาติ และสามารถอนุบาลลูกปลาซิวข้างขวานเล็กโดยการ ใช้อาหารธรรมชาติมีชีวิตและอาหารสำเร็จรูปได้อย่างมีประสิทธิภาพซึ่งมีวิธี การดำเนินการ ดังนี้ ได้พัฒนาการเพาะพันธุ์ปลาซิวข้างขวานเล็กได้ สำเร็จ โดยเน้นการเพาะพันธุ์วิธีเลียนแบบธรรมชาติ และสามารถอนุบาลลูกปลาซิวข้างขวานเล็กโดยการ ใช้อาหารธรรมชาติมีชีวิตและอาหารสำเร็จรูปได้อย่างมีประสิทธิภาพซึ่งมีวิธี การดำเนินการ ดังนี้


พันธุ์ปลาซิว
          1. การคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์ พ่อแม่พันธุ์ปลาซิวข้างขวานเล็กที่ดีควรมีลักษณะ การคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์ พ่อแม่พันธุ์ปลาซิวข้างขวานเล็กที่ดีควรมีลักษณะ

          1.1 ควรเป็นปลาวัยเจริญพันธุ์ เพศผู้ รูปร่างปราดเปรียว บริเวณสามเหลี่ยมตรงกลางลำตัว มีสีเข้มเด่นชัดคล้ายด้ามขวาน เพเมียลำตัวสั้นป้อม มีท้องอูมเป่ง ควรเป็นปลาวัยเจริญพันธุ์ เพศผู้ รูปร่างปราดเปรียว บริเวณสามเหลี่ยมตรงกลางลำตัว มีสีเข้มเด่นชัดคล้ายด้ามขวาน เพเมียลำตัวสั้นป้อม มีท้องอูมเป่ง

          1.2 พ่อแม่พันธุ์ควรมีน้ำหนักอยู่ในช่วง 0.30-0.60 กรัม พ่อแม่พันธุ์ควรมีน้ำหนักอยู่ในช่วง 0.30-0.60 กรัม

          1.3 ตามลำตัวไม่ควรมีบาดแผล เพราะจะทำให้เกิดการติดเชื้อและลุกลามถึงตายในที่สุด ตามลำตัวไม่ควรมีบาดแผล เพราะจะทำให้เกิดการติดเชื้อและลุกลามถึงตายในที่สุด


          2. การเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์ ลูกปลาซิวข้างขวานเล็กสามารถแยกเพศได้เมื่ออายุ 3-4 เดือน การ เลี้ยงพ่อแม่พันธุ์ เลี้ยงแยกเพศคนละบ่อเพื่อป้องกันปลาผสมพันธุ์กันเองภายในบ่อ เลี้ยงในตู้กระจกหรือ บ่อซีเมนต์ ใช้ระบบน้ำหมุนเวียน บ่อพ่อแม่พันธุ์จะใส่พรรณไม้น้ำและรากไม้เพื่อให้เหมือนสภาพตาม ธรรมชาติที่ปลาอาศัยอยู่ ให้ไรแดง หรืออาหารเม็ดสำเร็จรูปปลาสวยงาม เป็นอาหาร วันละ 2 ครั้ง การเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์ ลูกปลาซิวข้างขวานเล็กสามารถแยกเพศได้เมื่ออายุ 3-4 เดือน การ เลี้ยงพ่อแม่พันธุ์ เลี้ยงแยกเพศคนละบ่อเพื่อป้องกันปลาผสมพันธุ์กันเองภายในบ่อ เลี้ยงในตู้กระจกหรือ บ่อซีเมนต์ ใช้ระบบน้ำหมุนเวียน บ่อพ่อแม่พันธุ์จะใส่พรรณไม้น้ำและรากไม้เพื่อให้เหมือนสภาพตาม ธรรมชาติที่ปลาอาศัยอยู่ ให้ไรแดง หรืออาหารเม็ดสำเร็จรูปปลาสวยงาม เป็นอาหาร วันละ 2 ครั้ง

การเพาะพันธุ์ปลาซิวข้างขวานเล็ก มี 2 วิธี การเพาะพันธุ์ปลาซิวข้างขวานเล็ก มี 2 วิธี

          1. การเพาะพันธุ์ในตู้กระจก ใช้ตู้กระจก ขนาด 45x90x45 เซนติเมตร ระดับน้ำลึก 35 เซนติเมตร ใช้ระบบน้ำหมุนเวียน โดยจัดวัสดุให้เหมือนสภาพธรรมชาติ ใส่หินเกร็ดล้างน้ำให้สะอาดแล้ว ปลูกพรรณไม้น้ำในตู้ให้มีจำนวนเหมาะสม ใส่พ่อแม่พันธุ์อัตราส่วน 1:1 ตัวผู้ 3 ตัว ตัวเมีย 3 ตัว ให้ไรแดง เป็นอาหาร วันละ 2 ครั้ง โดยปลาจะวางไข่ติดพรรณไม้น้ำหรือตามหินเกร็ด หลังจากนั้นทำการนำพ่อแม่ พันธุ์ออก เพื่อป้องกัน พ่อแม่พันธุ์กินไข่หรือลูกตัวอ่อน ปกติการผสมพันธุ์จะมีขึ้นในช่วงเช้าประมาณ 08.00 – 12.00น. ของทุกวัน ไข่จะหลุดออกจากรังไข่ ประมาณ 2-10 ฟอง แม่พันธุ์ตัวหนึ่งจะวางไข่ 15-20 ครั้ง

          2. การเพาะพันธุ์ในบ่อซีเมนต์ ใช้บ่อซีเมนต์ขนาด 1x2x1 ตารางเมตร ระดับน้ำลึก 50 เซนติเมตร ใส่พ่อแม่พันธุ์อัตราส่วน 1:1 ตัวผู้ 10 ตัว ตัวเมีย 10 ตัว การเพาะพันธุ์ในบ่อซีเมนต์ ใช้บ่อซีเมนต์ขนาด 1x2x1 ตารางเมตร ระดับน้ำลึก 50 เซนติเมตร ใส่พ่อแม่พันธุ์อัตราส่วน 1:1 ตัวผู้ 10 ตัว ตัวเมีย 10 ตัว

          ความดกของไข่ ปลาซิวข้างขวานเล็กเป็นปลาที่มีรังไข่แบบ 2 พู ปลาซิวข้างขวานเล็กที่มี ขนาดความยาว 2.5 เซนติเมตร น้ำหนัก 0.34 กรัม มีน้ำหนักรังไข่ 0.71 กรัม และมีจำนวนไข่ประมาณ 594 ฟอง และปลาที่มีความยาว 3.4.เซนติเมตร น้ำหนัก 0.52 กรัม มีน้ำหนักรังไข่ 0.93 กรัม คิดเป็นไข่ ประมาณ 685 ฟอง


การอนุบาลปลาซิวข้างขวานเล็ก
          การอนุบาลลูกปลาซิวข้างขวานเล็ก หลังจากถุงไข่แดงยุบ มี 2 รูปแบบ 2 รูปแบบ 1) การอนุบาลในตู้กระจก การอนุบาลในตู้กระจก 2) การอนุบาลในบ่อซีเมนต์ ขนาดเล็ก การอนุบาลในบ่อซีเมนต์ ขนาดเล็ก

          1. การอนุบาลในตู้กระจก อัตราปล่อย 500 ตัวต่อตู้ ให้ลูกปลากินโรติเฟอร์ 3 วัน หลังจาก นั้นให้กินอาร์ทีเมีย 7-10 วัน แล้วให้กินไรแดงตลอด เลี้ยงเป็นระยะเวลา 1 เดือน จะได้ลูกปลาขนาด 1.5 เซนติเมตร การอนุบาลในตู้กระจก อัตราปล่อย 500 ตัวต่อตู้ ให้ลูกปลากินโรติเฟอร์ 3 วัน หลังจาก นั้นให้กินอาร์ทีเมีย 7-10 วัน แล้วให้กินไรแดงตลอด เลี้ยงเป็นระยะเวลา 1 เดือน จะได้ลูกปลาขนาด 1.5 เซนติเมตร

          2. การอนุบาลในบ่อซีเมนต์ขนาดเล็ก อัตราปล่อย 1,000 ตัวต่อบ่อ การอนุบาลในบ่อซีเมนต์ขนาดเล็ก อัตราปล่อย 1,000 ตัวต่อบ่อ


การเลี้ยงปลาซิวข้างขวานเล็ก 
          การเลี้ยงปลาซิวข้างขวานเล็ก เมื่ออนุบาลลูกปลาซิวข้างขวานเล็กจนได้ขนาด 1.5 เซนติเมตร ก็ดำเนินการเลี้ยงต่อจนได้ขนาด 2.5-3.0 เซนติเมตร ซึ่งเป็นขนาดที่ตลาดต้องการ การเลี้ยงปลาซิวข้างขวานเล็ก มี 2 รูปแบบ 1.5 เซนติเมตร ก็ดำเนินการเลี้ยงต่อจนได้ขนาด 2.5-3.0 เซนติเมตร ซึ่งเป็นขนาดที่ตลาดต้องการ การเลี้ยงปลาซิวข้างขวานเล็ก มี 2 รูปแบบ

          1.) การเลี้ยงในตู้กระจก อัตราปล่อย 200 ตัวต่อตารางเมตร ให้ไรแดง หรืออาหารผงสำเร็จรูปเป็น อาหาร การเลี้ยงในตู้กระจก อัตราปล่อย 200 ตัวต่อตารางเมตร ให้ไรแดง หรืออาหารผงสำเร็จรูปเป็น อาหาร

          2.) การเลี้ยงในบ่อซีเมนต์ ขนาดเล็ก อัตราปล่อย 500 ตัวต่อตารางเมตร การเลี้ยงในบ่อซีเมนต์ ขนาดเล็ก อัตราปล่อย 500 ตัวต่อตารางเมตร


ขั้นตอนการเลี้ยงปลาซิว
          1.เตรียมบ่อเลี้ยงขนาดบ่อ 2x4 เมตร ลึก 1 เมตร (เป็นบ่อปูนหรือบ่อพลาสติกก็ได้)

          2.หลังจากเตรียมบ่อแล้วให้ทำการเปิด น้ำเข้าบ่อสูง 80 เซนติเมตร และนำท่อนกล้วยลงแช่ในบ่อเพื่อดูดซับกลิ่นปูนแลกลิ่นเคมีจากพลาสติก แช่นาน 1 สัปดาห์

          3.นำปลาซิวลงบ่อเลี้ยงประมาณ 10 กิโลกรัม

          4.อาหารให้รำอ่อน วันละ 1 ครั้ง

          5.ระบบการถ่ายน้ำให้ทำการถ่ายน้ำโดย การเปิดก๊อกน้ำใส่บ่อและทำตัวจุกระบายน้ำออกจากบ่อที่ก้นบ่อด้วย และนำมุ้งเขียวกันไว้ไม่ให้ปลาหลุดออกจากบ่อตามท่อระบายน้ำ(ให้ทำการถ่ายน้ำ ปีละ 1 ครั้ง)

          6.ปรับปรุงสภาพน้ำโดยใส่น้ำหมักฮอร์โมนแม่ ½ ลิตร ต่อ เดือน

          7.อาหารเสริมสามารถนำปลวกมาสับให้ละเอียดเพื่อนำไปเป็นอาหารเสริมเพิ่ม โปรตีนให้ปลาซิวได้ เลี้ยงไว้ 2-3 เดือนสามารถจับขายหรือกินได้ การจำหน่ายราคากิโลกรัมละ 100 บาท


โรคของปลาซิวและการป้องกันโรค 

1.โรคแผลตามลำตัว

          สาเหตุ เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย

          อาการ เกล็ดจะพองและตกเลือดสีแดงตามลำตัว

          การป้องกัน ใช้ยาต้านจุลชีพ ชนิดซัลฟาไตรเมทโทรพริม ในอัตราส่วน 1-2 มิลลิกรัม/น้ำ 1 ลิตร แช่ปลานาน 2-3 วัน โรคแผลตามลำตัว

2.โรคครีบกร่อน หางกร่อน

          สาเหตุ เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย

          อาการ ตามโคนหางจะเป็นแผล แล้วค่อยๆลามเข้าไป จนทำให้ครีบมีขนาดเล็กลงบางครั้งครีบกร่อนไป จนหมด

          การป้องกัน ใช้ยาต้านจุลชีพ ชนิดซัลฟาไตรเมทโทรพริม ในอัตราส่วน 1-2 มิลลิกรัม/น้ำ 1 ลิตร แช่ปลานาน 2-3 วัน โรคครีบกร่อน หางกร่อน


* * * * *
ที่มา : กรมวิชาการเกษตร
ขอขอบคุณภาพประกอบจากอินเตอร์เน็ต

แชร์...ตรงนี้  เพื่อเป็นประโยชน์ ให้เพื่อนที่ได้เห็น
VVVVVVVVV
Powered by Blogger.